Grandpa Ben worked on Daddy's truck
You love to look at a colorful book or toy. When I read the baby book to you most the time you seem interested and listen.
When you sit upright I support with a pillow. Your body is more erect and less floppy than last month. When you lay on your belly, you briefly lift your chest up by pushing up on your hands and forearms
It's beginning
to feel like every day you have
new baby tricks!. It's like you getting your act together.
You often grab your feet and bring them to the mouth for sucking and gnawing. You lock your knees and stand upright when I support you in standing position.
and at a distance. You watch me as I leave the room, and I notice you trying to follow me with your eyes. You reach out to grab and taste everything in sight. You grip is getting stronger, your ability to reach out is getting better.
You can grab at toys hanging over your bouncy seat or under your play gym when you are on your back. Sometime I heared you trying out different sounds. I also discover you intensely watching my mouth and love looking at the mirror with a lot of attention by patting it as if to say " Who's that cute ba-bee ???
You slept better than ever this month. I put you down about 6:30 and hear from you again around 4:00 or 5:30 in the morning. What a good boy to give me a good nights rest .
Grandma Namcy and Grandpa Ben came up from California. This is Grandpa's first time seeing you. Second time for Grandma. They were here for almost 2 weeks. They helped us take care of you and your brother.
We are not going out very much anymore since we had you. It's nice sometime to have someone watching you so mom and dad can go out for a date.
Darren's development this month.
-Sitting up, but still needing a little support
-Rolling over from from to back to tummy
-Turning around when someone calls your name
- Better vision
- Learned how to put feet in the mouth
- More control of legs and feet
พัฒนาการปกติ เดือนที่ 5 “ พลิกตัวคล่อง”
ลูกควรจะมีน้ำหนักตัวประมาณ 2 เท่าของแรกเกิดเมื่ออายุ 4-5 เดือน ซึ่งในช่วง 4 เดือนแรกนั้น เด็กจะโตเร็ว และมีน้ำหนักเพิ่มขึ้น เฉลี่ยเดือนละ 800 – 1,000 กรัม แต่หลังจาก เข้าเดือนที่ 5 น้ำหนักจะเริ่มขึ้นช้าลง โดยอาจจะเพิ่มประมาณ 500-600 กรัม ต่อเดือน และต่อมา จะเหลือเพียง 200-400 กรัม ต่อเดือน หลังจาก 6 เดือนไปแล้ว
ลูกควรจะพลิกตัวคว่ำหงายได้คล่อง และชอบที่จะอยู่ในท่านั่ง มากกว่าท่านอน ลูกจะเริ่มใช้มือร่วมกับสายตาที่มองเห็นสิ่งต่างๆได้ดีขึ้น จะเริ่มจับสิ่งของ บางครั้งจะกำของแน่นด้วยมือทั้ง 2 ข้าง และชอบที่จะเอาของต่างๆ ใส่เข้าไปในปากเพื่อเรียนรู้ ลูกจะยังไม่เข้าใจถึงความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งของที่เห็นอยู่ต่อหน้ากับสิ่งของที่ถูกซ่อนไว้ แม้ว่าลูกจะมองเห็นว่าคุณซ่อนของชิ้นนั้นต่อหน้าเขา
ลูกจะชอบที่จะพบปะผู้คน จะส่งเสียงต่างๆ ได้อย่างน่ารัก และยังชอบทำท่าทางเลียนแบบคนที่กำลังเล่นกับเขา ลูกจะทำเสียงสูง เสียงต่ำ และเริ่มออกเสียง ที่พอจับความหมายได้ เช่น คำว่า “ดา” “มา” ท่าทีที่คุณตอบสนองต่อการส่งเสียงของเขา จะเป็นสิ่งกระตุ้นให้ลูกสนุก กับการส่งเสียงต่างๆมากขึ้น ซึ่งช่วงนี้ ก็เป็นโอกาสในการตรวจเช็คการได้ยินของลูกไปด้วย เพราะความสามารถในการพัฒนาการด้านภาษานั้น จะขึ้นกับการได้ยินเสียงต่างๆ โดยเฉพาะเสียงพูดของคนรอบข้าง
อาหารที่ลูกทาน ก็มีความสำคัญ เพราะในช่วงนี้ จะพบว่าปริมาณของธาตุเหล็ก ที่มีสะสมมาในตอนแรกเกิด จะเริ่มลดน้อยลง จากการที่ลูกมีอัตราการเจริญเติบโตที่เร็ว ดังนั้นควรให้นมที่มีธาตุเหล็กเสริม (ซึ่งนมทารกส่วนใหญ่ที่มีขายในท้องตลาด ก็มีการเสริมธาตุเหล็กอยู่แล้ว)
และในทารกที่เลี้ยงด้วยนมมารดา อาจต้องการธาตุเหล็กเพิ่ม จากอาหารเสริม และการให้รับประทานไวตามิน ที่มีธาตุเหล็ก (ควรปรึกษาแพทย์ ก่อนพิจารณาการให้ธาตุเหล็ก) ลูกจะทานอาหารได้ดีขึ้น แต่ในการเลือกชนิดอาหารที่จะป้อนลูก ยังต้องระวังเรื่องการแพ้สารอาหารบางชนิด จึงยังต้องคอยเอาใจใส่เสมอ บางครั้งลูกจะมัวแต่สนใจที่จะเล่น
ทำให้การป้อนอาหาร ใช้เวลานานมาก และบางครั้งก็จะเริ่มอมข้าว ในรายที่ทานอาหารได้ดี จะเห็นว่าการทานนม จะน้อยลงบ้าง ซึ่งเป็นปกติ ทั้งนี้เพราะในอาหารของลูก ที่คุณป้อนนั้นจะมีคุณค่าทางโภชนาการ และมีปริมาณของแคลอรี่ และสารอาหารที่ครบถ้วนอยู่แล้ว
หลังจากนี้ไม่นาน เด็กบางคนจะเริ่มแยกแยะระหว่างคนที่เขาคุ้นเคย กับคนแปลกหน้า ทำให้เขาเริ่มกลัว หรืร้องไห้ เมื่อเจอคนแปลกหน้า ที่เรียกว่า “stranger anxiety” ลูกจะต้องการเวลาสำหรับทำความคุ้นเคย และสังเกตคนแปลกหน้า ที่เริ่มเข้ามาอยู่ใกล้เขา ถ้าคนๆนั้นไม่มีท่าทีที่จะเป็นอันตราย
หรือตรงเข้ามาหาเขาทันที ให้เวลาให้ลูกได้ยอมรับเขา ลูกก็จะไม่เกิดความกลัว แต่ถ้าคนๆนั้นทำเสียงดัง หรือมีท่าทางที่จะทำให้ลูกตกใจ ก็จะเกิดการร้อง หรือกลัวขึ้นทันที ดังนั้นควรที่ผู้ใหญ่คนอื่นๆ ที่จะเข้ามาหาคุณพ่อคุณแม่ ในขณะที่อยู่กับลูก จะเข้าใจ และพูดคุยกับคุณโดยไม่ทำท่าให้ความสนใจเด็กมากนัก เพื่อให้เด็กได้เกิดความวางใจก่อน จึงค่อยเล่นกับเด็กทีหลัง
นอกจากนี้ ลูกเริ่มที่จะทำอะไรได้หลายอย่างขึ้น คุณจึงควรเตรียมตัว ที่จะสอนให้เขารู้ถึงกฎเกณฑ์บางอย่างที่ง่ายๆ ได้ เพราะลูกพอจะรู้ จากการสังเกตสีหน้าท่าทาง และน้ำเสียงของคุณว่าคุณ “ชอบ” หรือ “ไม่ชอบ” ในสิ่งที่เขากำลังทำอยู่ ซึ่งต้องอาศัยเวลา, ความเข้าใจ และความสม่ำเสมอ ในการฝึกฝนอีกสักพักใหญ่ ก่อนที่เด็กจะเรียนรู้ว่า อะไรทำได้อะไรทำไม่ได้ ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญ ของการอบรมเลี้ยงดูลูกในอนาคต อย่างที่เรียกว่า “Discipline” นั่นเอง
Mom.
No comments:
Post a Comment