Tuesday, October 28, 2008
Darren 3 month old
You are having yout first vaccinations this month. You did better than I thought and only cried a little bit. But after we got home you were hot and fussy for a little while.
You are more social with me, daddy, and your brother. We all take turns holding you when you cry.
Your kicks seem stronger now. Hard to change a diaper. Getting good at standing and holding. You are more social with me, daddy, and your brother. We all take turns holding you when you cry.
My baby seems to have more "sparkle" than ever before! I notice your expressions of joy. You smile at me and I can see the spark of recognition in your eyes.
I am so proud of youand how far we've come together . I'm learning to read your expressions and body language because that's the qway you tell me what you want.
You're cry when you're hurngry, hot, cold , wet, or get bored. It is a challeng but we have a lot of fun, especially when you don't pull my hair. When you play on the floor it's interesting to watch you stretch and reach for toys. You will raise your chin and shoulders up straight ahead. You can use your arms with a lot of strength now.
You slept better all the time. This month you probably sleep about 14 hours per day, which is not too bad. We rock you to sleep.
You seem more alert and recognize people more and more.
Darren's development this month.
- Start to smile a lot more when I talk to you
-Start to kicks
-Have a good control on your hands and head
-Recognize my voice and turn your head to me
-Grabing toys and learn to use your hands is power
พัฒนาการปกติ เดือนที่ 3 “ กำลังน่ารัก”
ตอนนี้คุณแม่คงพอจะมองออกแล้วว่า ลูกจะมีลักษณะนิสัยเป็นอย่างไร เด็กจะเริ่มแสดง “บุคลิก” ของเขาให้เห็น และการแสดงออก เพื่อตอบสนองต่อสิ่งต่างๆของเขานั้น ก็จะเริ่มมีความซับซ้อนมากขึ้นจากเดิม ที่จะเป็นไปตามความต้องการพื้นฐานเบื้องต้นเท่านั้น การมีสิ่งเร้ามากระตุ้นเด็กที่เหมาะสม จะช่วยในการพัฒนาของลูก จากเดิมที่เมื่อลูกตื่น จะต้องการให้อุ้มและป้อนนม ก็จะเริ่มเป็นว่าเขาต้องการให้คุณคุยกับเขา เล่นกับเขา และจะเริ่มไม่ยอมเมื่อถูกทิ้งให้เล่นคนเดียว ลูกจะชอบมากที่มีคนมาพูดคุยด้วย ได้เห็นคุณทำท่าสั่นหัว ตบมือ หรือแม้แต่แลบลิ้น ทำหลอกเล่นกับเขา
ลูกจะเริ่มเล่นเสียงต่างๆมากขึ้น การได้ยินเสียงดนตรี หรือเสียงที่น่าสนใจ จะช่วยทำให้เขาหยุดร้องเมื่อยามที่กำลังงอแง และจะมีท่าทีตอบสนองโดยส่งเสียงอ้อแอ้ตอบบ้าง เมื่อใกล้ 4 เดือน ลูกจะชอบทำเสียงคุยอ้อแอ้ อืออา เมื่อมีคนมาคุยด้วยได้นานพอควร บางครั้งอาจนานถึง 20 นาที ถ้าเขามีอารมณ์ดี
ช่วงนี้เด็กจะเริ่มหันหาเสียงที่ได้ยินดีขึ้น และเสียงคุยที่อ่อนโยนนุ่มนวลของคุณแม่ จะกระตุ้นให้เขาส่งเสียงโต้ตอบได้ดีกว่าเสียงที่ดังหวือหวา
ลูกจะมองตามคุณแม่ที่เดินไปมาอยู่ต่อหน้าเขาได้ดีขึ้น ช่วงเดือนที่ 3 นี้ลูกจะยังชอบกำมือ และอมมืออย่างอร่อย แต่ในเวลาไม่นาน ลูกก็จะเริ่มรู้จักเปิดมือ และเริ่มคว้าจับ ลูกจะลองใช้นิ้วมือ ลองขยับนิ้วเล่น และยกมือขึ้นมามอง จะเริ่มจำสิ่งต่างๆได้มากขึ้น และแสดงท่าทีดีใจ เมื่อได้เห็นสิ่งที่เขาชอบ โดยเฉพาะเวลาที่เห็นคุณแม่ เวลาที่คุณอยู่กับลูก เช่น เวลาอาบน้ำ, ขณะเปลี่ยนผ้าอ้อม หรือป้อนนม
ก็ควรพยายามพูดกับลูกเสมอๆ ด้วยเสียงอ่อนโยนนุ่มนวล ด้วยคำสั้นๆ โดยการเรียกชื่อของส่วนต่างๆของร่างกายของลูก เช่น “ ยกแขน” ขณะที่คุณกำลังจับแขนลูก ฯลฯ แม้ว่าลูกจะยังไม่เข้าใจสิ่งที่คุณพูดนัก แต่ก็จะเป็นการสอนให้ลูกรับรู้โทนเสียง รู้จังหวะของการสนทนา และความหมายกว้างๆของคำนั้นได้
เมื่อคุณประคองตัวลูกขึ้นมาอยู่ในท่านั่ง ลูกจะชันคอได้ดีขึ้น แต่ยังต้องคอยจับไว้ไม่ให้ล้ม เมื่อวางนอนคว่ำ เขาจะพยายามยกหัวและหน้าอกให้พ้นพื้นได้ช่วงสั้นๆ เวลานอนหงายอยู่เขาจะเริ่มใช้มือปัดป่ายไปมา และเอามือทั้ง 2 ข้างมาเล่นด้วยกันได้
จากนี้ไปคุณควรเตรียมที่จะจัดให้ห้องลูก และบริเวณที่จะให้เด็กอยู่เป็นส่วนใหญ่ ให้เป็นที่ปลอดภัยสำหรับเด็ก (Babyproofing area) พยายามให้ทำความสะอาดได้ง่าย ไม่มีของที่อาจเป็นอันตรายอยู่ใกล้ๆ เช่น กระติกน้ำร้อน, น้ำยาทำความสะอาดพื้น, เครื่องแก้วที่แตกง่าย หรือ ของที่มีขนาดเล็กๆ ที่เด็กอาจจะเอาเข้าปากได้ง่ายๆ เช่น ยาเม็ดของผู้ใหญ่, เม็ดกระดุม, ของเล่นที่อาจมีชิ้นส่วนเล็กๆ ที่อาจหลุดเข้าปาก ทำให้สำลักลงปอดได้ เพราะอีกไม่นาน ลูกจะสามารถพลิกตัวหรือคืบไปจนถึงสิ่งเหล่านี้ และอาจเกิดอันตรายได้
ในช่วงนี้ แม้ว่ากิจกรรมต่างๆของลูกดูเหมือนจะเริ่มเป็นเวลา ที่เหมือนจะแน่นอนขึ้น แต่ก็พบว่า บางครั้งอาจไม่เป็นไปตามที่คาดไว้ ถ้าเขาง่วงมาก อาจหลับไปเลย หรืออาจจะงอแงกวนอยู่พักใหญ่ ทำอะไรให้ก็ไม่เอา แต่ก็ขอให้เข้าใจ และให้จัดเวลาทำกิจกรรมต่างๆ อย่างสม่ำเสมอเหมือนเดิมในแต่ละวัน ซึ่งจะช่วยให้เขาปรับตัวได้ดีกว่าการเปลี่ยนกิจกรรมไปมา จนลูกสับสนคาดเดาไม่ได้ว่าจะทำอะไรต่อไป อีกไม่นานเขาก็จะเข้าที่ดีกว่านี้
ในเวลากลางคืน ลูกจะเริ่มนอนได้นานขึ้น แต่ก็ยังจะมีการตื่นขึ้นมาทานนมบ้าง สักมื้อหนึ่ง หรืออาจจะตื่นมากวน พลิกตัวไปมา เหมือนครึ่งหลับครึ่งตื่น คุณไม่ต้องคอยกังวล และพยายามรีบเข้ามาอุ้มลูก ป้อนนม หรือกล่อมลูก เพื่อให้เขาได้หลับเหมือนเมื่อก่อน เพราะบางครั้งลูกจะดูเหมือนตื่น แต่ก็สามารถหลับต่อได้เองในเวลาต่อมา
คุณสามารถช่วยฝึกลูก ให้เขาจัดระเบียบการนอน การตื่น ได้ดีขึ้น โดยในช่วงกลางวันเมื่อเขาตื่น ให้พยายามทำบรรยากาศให้สดใส น่าสนใจ ชวนลูกคุย เล่น หรือพาออกจากเตียงของเขาเพื่อให้เขาตื่นนานขึ้นในตอนกลางวัน
และเมื่อถึงเวลานอนตอนกลางคืน ก็พยายามปรับสภาพแวดล้อม ให้อยู่ในความสงบ สร้างบรรยากาศในการนอน เช่น ให้ไฟในห้องไม่สว่างนัก ไม่มีเสียงดังจากทีวี หรือโทรศัพท์คอยกวน ไม่ชวนลูกคุยหรือเล่นในเวลากลางคืน เพื่อให้ลูกค่อยๆเรียนรู้ว่ากลางคืน มืด เงียบ ต้องนอน ปรับอุณหภูมิในห้องให้เย็นสบาย และอาจจะป้อนนมก่อนนอน พร้อมกับการเปลี่ยนผ้าอ้อมใหม่ให้ เพื่อให้เขาได้หลับอย่างสบาย และอาจรวมถึงการกล่อมลูกให้นอนอย่างที่คุณถนัดด้วย
มาถึงตอนนี้คุณแม่และลูกก็จะรู้ใจกันมากขึ้น คุณรู้ได้ว่าท่าทางและการร้องของเขานั้นหมายถึงอะไร และคุณควรจะทำอย่างไรให้เขาสบาย และอบอุ่นที่มีคุณอยู่ใกล้ๆคอยดูแลเขา เขาจะเริ่มมีความไว้วางใจในสิ่งรอบข้าง ซึ่งเป็นพื้นฐานที่ดีต่อบุคลิกภาพ และอารมณ์ของเขา
Mom.
Darren 2 month old
\
พอเข้าเดือนที่ 2 คุณแม่จะรู้ใจลูกได้ดีขึ้น การป้อนนม การขับถ่าย เริ่มจะเป็นระบบระเบียบมากขึ้น แต่บางครั้งก็ยังอาจมีรายการ “ผิดคิว” ได้บ้าง
ลูกจะสามารถแสดงออกทางอารมณ์ให้คุณรับรู้ได้มากขึ้น เขาจะเริ่มแสดงสีหน้าที่มีความสุข ชอบไม่ชอบได้บ้าง ในช่วงนี้ จะเริ่มเห็น รอยยิ้มอย่างมีความหมายของลูกได้ (Social smile)
ระบบประสาทเกี่ยวกับการได้ยิน และการมองเห็น เริ่มจะมีการทำงานสอดคล้องกัน (coordination) ลูกจะหยุดฟังเสียงที่คุ้นเคย และกลอกตาไปทางที่มาของเสียงนั้น ลูกจะเริ่มทำเสียงอืออาในคอ โดยเฉพาะเมื่อมีคนคุยด้วย ลูกจะมองตามสิ่งที่เคลื่อนไหวช้าๆอยู่ตรงหน้า โดยจะทำได้ในแนวราบจากข้างหนึ่ง ไปอีกข้างหนึ่งได้ก่อน แล้วจึงค่อยเป็นในแนวดิ่ง จากบนลงล่าง หรือจากล่างขึ้นบน
ในช่วงนี้ลูกจะชอบดูดมือเวลาหิว และชอบที่จะมีอะไรอยู่ในปากเสมอๆ เชื่อว่าการทำเช่นนี้ เป็นการที่เด็กจะเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างใกล้ตัวเขา และรวมไปถึงส่วนต่างๆของร่างกาย (โดยเฉพาะมือ) ของเขา ไม่ควรจะไปคอยดึงเอามือเด็ก ออกจากปากไม่ให้เขาได้ดูด เพราะจะเป็นการไปห้ามการเรียนรู้ของเขา และทำให้เขาเครียดและหงุดหงิด
เมื่อนอนคว่ำ ลูกจะเริ่มยกศีรษะขึ้นได้เองบ้างชั่วครู่ และเมื่ออุ้ม ก็จะสามารถชันคอได้ดีกว่าก่อน ส่วนการจัดท่านอนให้ลูกนั้น โดยทั่วไป แนะนำให้นอนหงาย เนื่องจากมีรายงานว่า ในทารกที่นอนคว่ำ มีความเสี่ยงในการที่จะเกิดการเสียชีวิตของเด็ก โดยไม่ทราบสาเหตุ ที่เรียกว่า Sudden Infant Death Syndrome (SIDS) ได้มากกว่า คุณพ่อคุณแม่ อาจจะกังวลว่า การนอนหงายเสมอๆ อาจทำให้รูปศีรษะแบนไม่สวย ซึ่งก็จะสามารถช่วยได้ โดยการให้เด็กนอนตะแคงตัวซ้ายขวา สลับกันบ้าง และจัดหาหมอนหนุนไหล่ หรือศีรษะที่เหมาะสม
คุณพ่อก็มีบทบาทสำคัญ ในการช่วยกันดูแลลูก เพราะคุณพ่อและคุณแม่ จะมีวิธีการตอบสนอง หรือการเล่นกับลูกที่แตกต่างกัน การที่คุณพ่อช่วยดูแลลูกนั้น เป็นการสร้าง “สายใยแห่งรัก” ของครอบครัว ให้แน่นแฟ้นขึ้น
ในบางเวลา คุณอาจจะคิดไปถึงอนาคต อาจจะรู้สึกไม่แน่ใจว่าสิ่งที่คุณกำลังทำอยู่นี้ เหมาะสมหรือไม่ เพราะดูลูกก็ยังเล็กมากเหลือเกิน แต่หมอก็อยากจะบอกว่า ไม่มีอะไรจะมีค่า มากกว่าความรักและความเอาใจใส่ ที่คุณพ่อและคุณแม่มีต่อเขา
You are 2 month old now everything is pretty much the same as last month.
This month your hair is getting long their are stick up very high. It's not surpriseing me cause you were born with a lot of hair.
This month your hair is getting long their are stick up very high. It's not surpriseing me cause you were born with a lot of hair.
I took you in for hair cut at the shop Pranee cuted your hair she did a very good job she gave you a flat top. You were a good boy you sat still not even cry at all.
I thought it made you look a little older but Daddy like it. However it look better than it was before.
I start to put you up to sleep on your crib. I have to swaddle you up tightly this way you sleep a little longer but waking up a few time at night still.
I feeling a little bit tired sometime because not much sleep at night. It fun to watch you growing up every day getting to know you . Finally you are here with me after carried you around for 9 month getting everything ready for your arrival .
Daddy and I we helping each other to paint your room. That was my first time painting.
The color I picked it turn out very nice when we are finish. Daddy put together all the baby equipment we work as a term work.
Hope one day when you're grow up you know how much we love you the little one.
This month you geains to open up to the world around you a little. You more awake and aware time grows even longer. Sometime I catch you looking around you seem intrigued by my face when I talk to you. Stare up at me while you are nursing spend time briefly gazing at your hand. You becomes more sociable also discover more clues. I can see some of your personality
Darren's development this month
-Interesting more about things around you such as noise or faces
-Smile ( social smile) when you see me ( sometime )
- Start to make some noise like Auuu !!
-Turn your head
-following object
พัฒนาการปกติ เดือนที่ 2 “ สนใจสิ่งรอบข้าง”
พอเข้าเดือนที่ 2 คุณแม่จะรู้ใจลูกได้ดีขึ้น การป้อนนม การขับถ่าย เริ่มจะเป็นระบบระเบียบมากขึ้น แต่บางครั้งก็ยังอาจมีรายการ “ผิดคิว” ได้บ้าง
ลูกจะสามารถแสดงออกทางอารมณ์ให้คุณรับรู้ได้มากขึ้น เขาจะเริ่มแสดงสีหน้าที่มีความสุข ชอบไม่ชอบได้บ้าง ในช่วงนี้ จะเริ่มเห็น รอยยิ้มอย่างมีความหมายของลูกได้ (Social smile)
เมื่อเขาเห็นคุณแม่ เด็กจะยิ้มทักทายหรือยิ้มตอบ เด็กจะปัดป่ายแขนขาของเขาไปมาได้ดีขึ้น เป็นการออกกำลังของเขา
ระบบประสาทเกี่ยวกับการได้ยิน และการมองเห็น เริ่มจะมีการทำงานสอดคล้องกัน (coordination) ลูกจะหยุดฟังเสียงที่คุ้นเคย และกลอกตาไปทางที่มาของเสียงนั้น ลูกจะเริ่มทำเสียงอืออาในคอ โดยเฉพาะเมื่อมีคนคุยด้วย ลูกจะมองตามสิ่งที่เคลื่อนไหวช้าๆอยู่ตรงหน้า โดยจะทำได้ในแนวราบจากข้างหนึ่ง ไปอีกข้างหนึ่งได้ก่อน แล้วจึงค่อยเป็นในแนวดิ่ง จากบนลงล่าง หรือจากล่างขึ้นบน
ในช่วงนี้ลูกจะชอบดูดมือเวลาหิว และชอบที่จะมีอะไรอยู่ในปากเสมอๆ เชื่อว่าการทำเช่นนี้ เป็นการที่เด็กจะเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างใกล้ตัวเขา และรวมไปถึงส่วนต่างๆของร่างกาย (โดยเฉพาะมือ) ของเขา ไม่ควรจะไปคอยดึงเอามือเด็ก ออกจากปากไม่ให้เขาได้ดูด เพราะจะเป็นการไปห้ามการเรียนรู้ของเขา และทำให้เขาเครียดและหงุดหงิด
ส่วนการจะให้เด็กได้ดูดมือต่อไปนานๆ หรือ ให้เป็นหัวนมปลอมแทนหรือไม่นั้น คุณควรจะปรึกษาแพทย์ เพื่อให้ทราบถึงข้อดีข้อเสียก่อนตัดสินใจ ในช่วงนี้คุณพ่อคุณแม่ที่รู้สึกว่า ไม่ค่อยได้นอนเต็มอิ่ม เพราะต้อง
คอยตื่นมาป้อนนมลูก ทุก 3 ชั่วโมง ก็จะรู้สึกว่าเริ่มสบายขึ้น เพราะลูกในวัยนี้ จะเริ่มมีการนอนที่ยาวขึ้น แต่ส่วนใหญ่ก็ยังจะตื่นมาให้ป้อนนมอยู่
โดยทั่วไปเมื่อเด็กมี น้ำหนักตัวประมาณ 5 กก. เศษ ขึ้นไป เด็กบางคนอาจหลับได้ติดต่อกันเกือบตลอดคืน โดยไม่ตื่นขึ้นมากวนเลย คุณแม่ไม่จำเป็นต้องปลุกลูกขึ้นมาป้อนนมเหมือนช่วงเดือนแรก ด้วยความห่วงกลัวว่า เขาจะหิว หรือได้นมไม่พอ กลัวลูกจะไม่อ้วน ควรให้เขาได้นอน ตามที่เขาต้องการจะดีกว่า
เมื่อนอนคว่ำ ลูกจะเริ่มยกศีรษะขึ้นได้เองบ้างชั่วครู่ และเมื่ออุ้ม ก็จะสามารถชันคอได้ดีกว่าก่อน ส่วนการจัดท่านอนให้ลูกนั้น โดยทั่วไป แนะนำให้นอนหงาย เนื่องจากมีรายงานว่า ในทารกที่นอนคว่ำ มีความเสี่ยงในการที่จะเกิดการเสียชีวิตของเด็ก โดยไม่ทราบสาเหตุ ที่เรียกว่า Sudden Infant Death Syndrome (SIDS) ได้มากกว่า คุณพ่อคุณแม่ อาจจะกังวลว่า การนอนหงายเสมอๆ อาจทำให้รูปศีรษะแบนไม่สวย ซึ่งก็จะสามารถช่วยได้ โดยการให้เด็กนอนตะแคงตัวซ้ายขวา สลับกันบ้าง และจัดหาหมอนหนุนไหล่ หรือศีรษะที่เหมาะสม
คุณพ่อก็มีบทบาทสำคัญ ในการช่วยกันดูแลลูก เพราะคุณพ่อและคุณแม่ จะมีวิธีการตอบสนอง หรือการเล่นกับลูกที่แตกต่างกัน การที่คุณพ่อช่วยดูแลลูกนั้น เป็นการสร้าง “สายใยแห่งรัก” ของครอบครัว ให้แน่นแฟ้นขึ้น
ในบางเวลา คุณอาจจะคิดไปถึงอนาคต อาจจะรู้สึกไม่แน่ใจว่าสิ่งที่คุณกำลังทำอยู่นี้ เหมาะสมหรือไม่ เพราะดูลูกก็ยังเล็กมากเหลือเกิน แต่หมอก็อยากจะบอกว่า ไม่มีอะไรจะมีค่า มากกว่าความรักและความเอาใจใส่ ที่คุณพ่อและคุณแม่มีต่อเขา
ประสบการณ์ต่างๆ ที่คุณได้จากการเลี้ยงลูก จะช่วยให้คุณทั้งสอง มีวุฒิภาวะมากขึ้น และเข้าใจการใช้ชีวิตคู่มากขึ้น คุณจะเริ่มเรียนรู้การเปลี่ยนแปลง จากสภาวะคู่รักอันหวานชื่น กลายเป็น คู่ชีวิต ที่จะมีความสุขและทุกข์ร่วมกันไปตลอด ซึ่งสิ่งเหล่านี้ จะเป็นรากฐานอันสำคัญ ในอนาคตของลูก
Mom.
Darren 1 month old
After getting to know each other now you are 1 month old already. Time just goes by fast. The first month is tough for me because you still not sleep on any schedule, and I have to adjust my routine to fit the new schedule as well.
I still have a lot to learn about how to take care of you. Everything is new for me. You're getting progressively stronger. But you are still having trouble balancing. You easily flop over from a sitting position if not supported.
The first couple nights we slept on the living room floor. I had to put you in a swing to sleep because you not sleep anywhere else. You wake up every 2-3 hours at night time for feeding. It was so hard ,but it's our job to make sure you are taken care of.
Daddy told me I needed to move to sleep in the bedroom so it would be more comfortable. Daddy was a great help.
Taking care of me and the baby. Making me breakfast and dinner, and doing housework too, so I have more time to recover and bond with you.
Grandmother came from California and helped out with you as well. Giving me some time to nap during the day, how nice it felt .
I really appreciated everything that she has done for us. Grandma had a trick to sooth you to sleep. She swaddled you snugly and rocked you to sleep.
You are gaining more head control and move your head around more to look at things when lying on your belly.
Darren's development this month
- Starting to make eye contact.
- Have a fake smile when you are asleep.
- Sleep more during the day and wake up a lot more at night.
- Like to fall sleep during nursing.
Mom.
Subscribe to:
Posts (Atom)